Pink Lollipop

วันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  22  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ ...

    วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

   กลุ่มดิฉันทำสื่อชื่อ : จิ๊กซอเรขาคณิต

   วิธีเล่น : ให้เด็กๆต่อจิ๊กซอเรขาคณิตลงบล็อกที่กำหนดให้

   ประโยชน์ของสื่อ : - เด็กได้รู้จักรูปเรขาคณิต
                                 - เด็กได้ฝึกทักษะและพัฒนาการด้านสติปัญญา มีสมาธิและความจำดีขึ้น

   ผลที่ได้รับ : เด็กสนุกสนานกับการต่อจิ๊กซอ และชื่นชอบมาก 
                      ดิฉันอธิบายแค่รอบเดียว เด็กก็ปฏิบัติตามได้ดี

   ไม่พบปัญหาใดๆ




รูปภาพสื่อ จิ๊กซอเรขาคณิต ของกลุ่มดิฉัน







รูปภาพเมื่อนำสื่อไปใช้กับเด็ก



   สื่อของเพื่อนที่ดิฉันชอบ คือ สื่อโดมิโน่เรขาคณิต





รูปภาพสื่อโดมิโน่เรขาคณิตที่ดิฉันชอบ


 การนำไปประยุกต์ใช้ ...

   - สามารถนำสื่อที่เพื่อนนำเสนอไปปรับใช้กับเด็กได้











บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  22  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ ...

    วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 - 6 คน เขียนแผนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยเลือกจากกิจกรรมทั้ง 6 คือ
  1. กิจกรรมเสรี / การเล่นตามมุม
  2. กิจกรรมสร้างสรรค์
  3. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
  4. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
  5. กิจกรรมกลางแจ้ง
  6. เกมการศึกษา
    กลุ่มดิฉันได้เลือกกิจกรรมกลางแจ้งที่สามารถนำมาบูรณาการกับคณิตศาสตร์ได้
ชื่อกิจกรรมว่า "แน่จริงเตะให้ล้ม"




รูปภาพผลงานแผนการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ของกลุ่มดิฉัน





รูปภาพเพื่อนออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน


 การนำไปประยุกต์ใช้ ...

- จากการทำกิจกรรมนี้ ดิฉันได้รู้วิธีการเขียนแผนที่ถูกต้อง สามารถนำไปปรับใช้ในอนาคตได้









วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  15 มกราคม  2557
เวลา  14.10 - 17.30 น.

 ความรู้ที่ได้รับ ...

    วันนี้อาจารย์ให้ทำงาน 2 ชิ้น 
 - งานชิ้นแรก อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม แล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกไปจับฉลาก เมื่อทำเสร็จแล้ว
   ให้ออกไปนำเสนอ
 - งานชิ้นที่ 2 อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 - 6 คน ให้ทำสื่อคณิตศาสตร์เกี่ยวกับรูปเรขาคณิต




รูปภาพผลงานชินที่ 1 ของกลุ่มดิฉัน 
กลุ่มดิฉันได้เรื่องการเปรียบเทียบความเหมือน-ความต่างระหว่ารถจักรยานกับรถยนต์มอเตอร์ไซค์





รูปภาพผลงานของทั้ง 3 กลุ่ม





รูปภาพผลงานชิ้นที่ 2 ของกลุ่มดิฉัน


 การนำไปประยุกต์ใช้ ...
  
   - สามารถนำสื่อทั้ง 2 ชิ้นไปปรับใช้กับเด็กๆนอนาคตได้







บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  15  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

  วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง ...
     กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
 สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
 สาระที่ 2 การวัด
 สาระที่ 3 เรขาคณิต
 สาระที่ 4 พีชคณิต
 สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
 สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
    คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย
 1. มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ ( Mathematcal  Thinking )
   - จำนวนนับ 1-20
   - เข้าใจหลักการการนับ
   - รู้จักเลขฮินดูอารบิก และเลขไทย
   - รู้ค่าของจำนวน
   - เปรียบเทียบ เรียงลำดับ
   - การอบรมและการรวมกลุ่ม
 2. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน เวลา
   - เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนักแหละปริมาตร
   - รู้จักเงินเหรียญ และธนบัตร
   - เข้าใจเกียวกับเวลาและคำที่ใช้บอกช่วงเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น พรุ่งนี้ เมื่อวาน
 3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
   - ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง เช่น ข้างหน้า ข้างหลัง ข้างบน ไกล้ ไกล
   - รูปเรขาคณิตสามมิติ และสองมิติ
 4. มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด รูปที่สัมพนธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
 5. มีส่วนร่วมในการไห้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
 6. มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น

     สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่1  ค.ป. 1.1 เข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ
สาระที่2  ค.ป. 2.1 เข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
สาระที่3  ค.ป. 3.1 รู้จักใช้คำบอกตำแหน่ง
               ค.ป. 3.2 รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิตและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
สาระที่4  ค.ป. 4.1 เข้าใจรูปแบบและความสัมพันธ์
สาระที่5  ค.ป. 5.1 มีการนำเสนอข้อมูลต่างๆ
สาระที่6  ค.ป. 6.1 การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อการ


ภาพประกอบการสอนวันนี้







 การนำไปประยุกต์ใช้ ...
   - สามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ประยุกต์ใช้กับเด็กๆได้







บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  13 ธันวาคม  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

   วันนี้อาจารย์ติดประชุมเลยไม่ได้สอนเนื้อหา แต่ได้สั่งงานไว้ คือ อาจารย์จะมีรูปเรขาคณิตให้ 3 รูป คือ
รูปวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม แล้วให้เราเลือกเอารูปใดรูปหนึ่งมาวาดลงให้กระดาษของตัวเอง
แล้วให้วาดรูปสัตว์ต่อเติมจากรูปเรขาคณิตตามจินตนาการของเรา



ผลงานของดิฉัน ดิฉันเลือกรูปสามเหลี่ยมเป็นหัวของสัตว์ แล้ววาดต่อเติมตัว กลายเป็นรูปหนู


 การนำไปประยุกต์ใช้ ...

   - สามารถนำสื่อชิ้นนี้ไปพัฒนา และนำไปสอนเด็กได้










บันทึกอนุทินครั้งที่ 4



วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  8  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ ...

   วันนี้อาจารย์ให้ออกไปนำเสนองานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย

  กลุ่มที่ 1 เรื่องจำนวนและการดำเนินการ
    เด็กอายุ 3 ปี สามารถนับปากเปล่า 1-5 ได้  อ่านตัวเลขฮินดูอารบิก 1-5 บอกจำนวนสิ่งต่างๆได้ไม่เกิน 5 สิ่งโดยการนับ เป็นต้น
   ส่วนเด็กอายุ 4 ปี สามารถนับปากเปล่าเพิ่มจาก 1-5 เป็น 1-10 ได้ และสามารถเปรียบเทียบจำนวนสิ่งของต่างๆ 2 กลุ่ม โดยแต่ได้กลุ่มมีจำนวนไม่เกิน 10   และเด็กอายุ 5 ปี สามารถนับปากเปล่า 1-20 ได้  อ่านและเขียนเลยฮินดูอารบิก 1-20 ได้



รูปของกลุ่มที่ 1 ออกไปนำเสนอ


  กลุ่มที่ 2 เรื่องการวัด
      เด็กสามารถบอก ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน หรือเวลาได้



รูปของกลุ่มที่ 2 ออกมานำเสนอ


   กลุ่มที่ 3 เรื่องเรขาคณิต
       เด็กสามารถบอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปเรขาคณิต 3 มิติ และ รูปเรขาคณิต 2 มิติ ได้



รูปของกลุ่มที่ 3 ออกไปนำเสนอ


  กลุ่มที่ 4 เรื่อง พีชคณิต
     เด็กสามารถเข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์ได้ เช่น การต่อแบบรูปให้เข้าชุดกับแบบรูปที่กำหนดให้



รูปของกลุ่มที่ 4 ออกไปนำเสนอ


 กล่มที่ 5 เรื่องวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
     เด็กสามารถรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตนเองและลิ่งแวดล้อมมานำเสนอได้



รูปของกลุ่มที่ 5 ออกไปนำเสนอ (เป็นกลุ่มของดิฉันเอง)


 การนำไปประยุกต์ใช้ ...

  - สามารถนำข้อมูลที่เพื่อนๆแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอไปประยุกต์ใช้ได้
  - สามารถนำกิจกรรมที่เพื่อนยกตัวอย่างประกอบการนำเสนอไปต่อยอดเพื่อนใช้สอนเด็กได้







บันทึกอนุทินครั้งที่ 3



วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  22  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ ...

 วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง ...
    จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
 1. เพื่อให้เด็กได้มีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
 2. เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก  การลบ
 3. เพื่อให้เด็กฝึกหาคำตอบ

    ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. การใช้ประสาทสัมผัสหลายอย่าง
2. ได้เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับสิ่งหรือเหตุการณ์

    เกณฑ์การจำแนก
1. การแบ่งประเภทสิ่งของ
2. เกณฑ์การจำแนก ความเหมือน ความต่าง

    การจัดเรียง
1. การจัดลำดับวัตถุ หรือเหตุการณ์

    การวัด
1. การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก

    การนับ
1. เด็กชอบการนับแบบท่องจำ
2. เด็กนับแบบท่องจำจะมีความหมายเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง

    รูปทรงและขนาด

 กิจกรรมวันนี้
    อาจารย์แจกกระดาษ A4 คนละแผ่น แล้วให้วาดรูปวงกลมกลางหน้ากระดาษ แล้วให้เขียนตัวเลขที่ตัวเองชอบ ตั้งแต่ 0 - 9 ลงในวงกลมทีวาด 
อาจารย์ก็แจกกระดาษสี แล้วให้ตัดเป็นกลีบดอกไม้ตามเลขที่ตัวเองเลขลงในวงกลม




ผลงานของดิฉัน


การนำไปประยุกต์ใช้ ...

  - สามารถนำสื่อไปสอนเด็กๆได้
  - นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในอนาคต








บันทึกอนุทินครั้งที่ 2



วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  15  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้ ...

     วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง คณิตศาศตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. ขั้นพัฒนาการด้านประสาทวัมผัส
    - เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
    - สามารถจดจำสิ่งต่างๆ บอกคุณลักษณะของวัตถุได้
2. ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล 2-7 ปี
    - พูดแสดงความคิด
    - เริ่มรู้จักคำที่บอกขนาด น้ำหนัก รูปทรง ความยาว
    - เล่นบทบาทสมมุติ
    - เด็กวัยนี้จะให้ความสำคัญกับสิ่งที่สังเกตและรับรู้ได้ชัดเจนที่สุด
   - ไม่สามรถคงความคิดตามสภาพเดิมไว้ได้ เมื่อสภาพทางกายภาพเปลี่ยนแปลง ทำให้เด็กไม่สามารถ
     สะสมความคิดไว้ได้

 การอนุรักษ์ หมายความว่า เด็กคงสภาพเดิมจากที่เห็น เห็นแบบไหนก็ตอบแบบนั้น
 เด็กสามารถพัฒนาการอนุรักษ์ได้โดย 
  - การนับ
  - การจับคู่ 1 - 1
  - การเปรียบเทียบรูปทรงปริมาณ 
  - เรียงลำดับ
  - จัดกลุ่ม

 หลักการการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับบเด็กปฐมวัย
 - เปิดโอกาศให้เด็กได้พูดคุย อธิบาย และสำรวจความสัมพันธ์แบบต่างๆของคณิตศาสตร์ผานวัตถุและ      สื่ออุปกรณ์
  - ผสมผสานคณิตศาสตร์กับการเล่นและกิจกรรมที่มีลงมือปฏิบัติ
  - ให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆในการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
  - ใช้คำถามปลายเปิด
  - เชื่อมโยงการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

 กิจกรรมวันนี้

  อาจารย์ให้วาดรูปสัตว์ที่มีขาเยอะๆ เมื่อวาดเสร็จอาจารย์ก็แจกกระดาษสีให้ทำรองเท้าใส่ให้สัตว์ที่วาด




ผลงานของดิฉัน



ผลงานของเพื่อนๆในห้อง

การนำไปประยุกต์ใช้ ... 

  - สามารถนำไปเป็นสื่อสอนเด็กๆได้
  - สามรถนำเรื่องการอนุรักษ์ไปประยุกต์ใช้กับเด็กๆในอนาคตได้











บันทึกอนุทินครั้งที่ 1


วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อ.ตฤณ  แจ่มถิน
วัน ศุกร์ที่  8  พฤศจิกายน  2556
เวลา  14.10 - 17.30 น.


     วันนี้ดิฉันไม่ได้มาเรียน แต่ได้ถามงานจากเพื่อน เพื่อนบอกว่าอาจารย์ให้ทำ  mymapping  
เกียวกับวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย